โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์คืออะไร...ฟังชื่อแล้ว...อาจจะอยู่ยากๆ แต่จริงๆแล้วไม่ยากน่ะ...เรามาดูความหมายของโดเมน(Domain)และเรนจ์(Range) กันคับ...
ให้ r เป็นความสัมพันธ์ใดๆ
r={(x,y)}r={(x,y)}
โดเมนของความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย DrDr และมีความหมายดังนี้
Dr={x|(x,y)∈r}Dr={x|(x,y)∈r} ความหมายของเซตนี้ถ้าพูดเป็นภาษาชาวบ้านง่ายๆ...ก็คือ โดเมนของความสัมพันธ์ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าของทุกคู่อันดับที่อยู่ใน r
เรนจ์ของความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้่วย RrRr และมีความหมายดังนี้
Rr={y|(x,y)∈r}Rr={y|(x,y)∈r} ความหมายของเซตนี้ถ้าพูดเป็นภาษาชาวบ้านง่ายๆ...ก็คือ เรนจ์ของความสัมพันธ์ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของทุกคู่อันดับที่อยู่ใน r
มาดูตัวอย่างการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์กัน...คับ
ตัวอย่างที่ 1 ให้ r={(1,2),(3,4),(5,6),(7,8)}r={(1,2),(3,4),(5,6),(7,8)} จงหา DrDr และ RrRr
วิธีทำ จากความหมายของ DrDr คือ Dr={x|(x,y)∈r}Dr={x|(x,y)∈r} จึงได้ว่า
Dr={1,3,5,7} อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์
ในชีวิตประจำวันจะพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ เช่น สินค้ากับราคาสินค้าคนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่มาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใดๆ เท่ากับ ครึ่งหนึ่งของผลคูณของความยาวของฐานและความสูงของรูปสามเหลี่ยม
ศูนย์ น้อยกว่า หนึ่ง
{1,2} ไม่เท่ากับ {12}
ถ้าจะจับคู่ระหว่างสิ่งสองสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน เช่น อ่านเพิ่มเติม
ในชีวิตประจำวันจะพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ เช่น สินค้ากับราคาสินค้าคนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่มาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใดๆ เท่ากับ ครึ่งหนึ่งของผลคูณของความยาวของฐานและความสูงของรูปสามเหลี่ยม
ศูนย์ น้อยกว่า หนึ่ง
{1,2} ไม่เท่ากับ {12}
ถ้าจะจับคู่ระหว่างสิ่งสองสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน เช่น อ่านเพิ่มเติม
เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะ
เรื่อง เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
บทนิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1
และ รากที่ n ของ a เป็นจำนวนจริง จะได้ว่า aยกกำลัง1 ส่วน n=รากที่ aของ n
บทนิยาม ให้ m ,n เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้า a เป็นจำนวนจริงที่ไม่เท่ากับ 0
และ หาค่า = aยกกำลังลบmส่วนn = 1ส่วนaยกกำลังmส่วนn
บทนิยาม ให้ a เป็นจำนวนจริง
m และ n เป็นจำนวนเต็มที่ n > o และ mส่วนn เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ จะได้ว่า
aยกกำลังmส่วนn = aยกกำลัง1 ส่วน nยกกำลังm =รากที่nของaยกกำลังm
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
ให้ a และ b เป็นจำนวนจริง
m และ n เป็นเลขชี้กำลังที่เป็นจำนวนตรรกยะ อ่านเพิ่มเติม
บทนิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1
และ รากที่ n ของ a เป็นจำนวนจริง จะได้ว่า aยกกำลัง1 ส่วน n=รากที่ aของ n
บทนิยาม ให้ m ,n เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้า a เป็นจำนวนจริงที่ไม่เท่ากับ 0
และ หาค่า = aยกกำลังลบmส่วนn = 1ส่วนaยกกำลังmส่วนn
บทนิยาม ให้ a เป็นจำนวนจริง
m และ n เป็นจำนวนเต็มที่ n > o และ mส่วนn เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ จะได้ว่า
aยกกำลังmส่วนn = aยกกำลัง1 ส่วน nยกกำลังm =รากที่nของaยกกำลังm
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
ให้ a และ b เป็นจำนวนจริง
m และ n เป็นเลขชี้กำลังที่เป็นจำนวนตรรกยะ อ่านเพิ่มเติม
รากที่ n ของจำนวนจริง
บทนิยาม ให้ a , b เป็นจำนวนจริง และ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า 1
b เป็นรากที่ n ของ a ก็ต่อเมื่อ bกำลัง n = a
n เป็นจำนวนคู่
n เป็นจำนวนคี่
1. รากที่ n ของ a จะหาค่าได้ ก็ต่อเมื่อ a ≥เท่านั้น2. ถ้า a = o แล้ว รากที่ n ของ a = 03. ถ้า a > 0 แล้วรากที่ n ของ a จะมี 2 จำนวน จำนวนหนึ่งเป็นบวกและอีกจำนวนหนึ่งเป็นลบ
4. ถ้า a < 0แล้ว ไม่สามารถหารากที่ n ของ ได้ในระบบจำนวนจริง
1. รากที่ n ของ a จะหาค่าได้เสมอ สำหรับจำนวนจริง a ทุกจำนวน2. ถ้า a = o แล้ว รากที่ n ของ a = 03. ถ้า a > 0 แล้ว รากที่ n ของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว และเป็นจำนวนจริงบวก
4. ถ้า a < 0 แล้ว รากที่ n ของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว และเป็นจำนวนจริงลบ
ตัวอย่างที่ 1 1) รากที่ 4 ของ 625 คือ 5 และ – 5
ทั้งนี้เพราะ 5 กำลัง 4 = 625 และ (-5)กำลัง4 = 625
2) รากที่ 6 ของ 729 คือ 3 และ – 3
ทั้งนี้เพราะ 3กำลัง 6 = 729 และ(-3)กำลัง 6 = 729
3) รากที่ 5 ของ 1,024 คือ 4
ทั้งนี้เพราะ 4กำลัง5 = 1,024
4) รากที่ 7 ของ – 128 คือ – 2
ทั้งนี้เพราะ (-2) กำลัง 7 = – 128
อ่านเพิ่มเติม
b เป็นรากที่ n ของ a ก็ต่อเมื่อ bกำลัง n = a
n เป็นจำนวนคู่
n เป็นจำนวนคี่
1. รากที่ n ของ a จะหาค่าได้ ก็ต่อเมื่อ a ≥เท่านั้น2. ถ้า a = o แล้ว รากที่ n ของ a = 03. ถ้า a > 0 แล้วรากที่ n ของ a จะมี 2 จำนวน จำนวนหนึ่งเป็นบวกและอีกจำนวนหนึ่งเป็นลบ
4. ถ้า a < 0แล้ว ไม่สามารถหารากที่ n ของ ได้ในระบบจำนวนจริง
1. รากที่ n ของ a จะหาค่าได้เสมอ สำหรับจำนวนจริง a ทุกจำนวน2. ถ้า a = o แล้ว รากที่ n ของ a = 03. ถ้า a > 0 แล้ว รากที่ n ของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว และเป็นจำนวนจริงบวก
4. ถ้า a < 0 แล้ว รากที่ n ของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว และเป็นจำนวนจริงลบ
ตัวอย่างที่ 1 1) รากที่ 4 ของ 625 คือ 5 และ – 5
ทั้งนี้เพราะ 5 กำลัง 4 = 625 และ (-5)กำลัง4 = 625
2) รากที่ 6 ของ 729 คือ 3 และ – 3
ทั้งนี้เพราะ 3กำลัง 6 = 729 และ(-3)กำลัง 6 = 729
3) รากที่ 5 ของ 1,024 คือ 4
ทั้งนี้เพราะ 4กำลัง5 = 1,024
4) รากที่ 7 ของ – 128 คือ – 2
ทั้งนี้เพราะ (-2) กำลัง 7 = – 128
อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)